ลักษณะคำประพันธ์




ลักษณะคำประพันธ์

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ลักษณะคำประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยา


คำอธิบาย  รูปแบบฉันทลักษณ์

                กาพย์ยานี  ๑  บทมี  ๒  บาท  คือ  บาทเอก  และ  บาทโท
        บาท  มี  ๒ วรรค  คือ  วรรคหน้า มี  ๕  คำ  วรรคหลังมี  ๖  คำ
  
คล้องจองหรือสัมผัส 
                คำสุดท้ายของวรรคแรกบาทเอกสัมผัสกับคำที่ ๓   วรรคหลัง
                     ของบาทเดียวกัน
๒. คำสุดท้ายของบาทเอกสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคแรกบาทโท
๓. คำสุดท้ายบทแรกสัมผัสกับคำสุดท้ายบาทเอกของบทต่อไป
สัมผัสพิเศษ 
๑. อาจเพิ่มสัมผัสนอกระหว่างคำสุดท้ายวรรคแรกบาทโทกับคำ
ที่สามวรรคหลังของบทเดียวกัน
๒. อาจเพิ่มสัมผัสอักษรหรือสัมผัสสระภายในวรรคทุกวรรค
๓. คำสุดท้ายของบาทเอกควรเป็นคำที่เสียงวรรณยุกต์สามัญหรือจัตวาและเป็นคำเป็น

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ลักษณะคำประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยา

คำอธิบาย  รูปแบบฉันทลักษณ์                  
                            ๑.    บทหนึ่งมี  ๓   วรรคแรกมี   ๖  คำ   วรรคที่  ๒   มี  ๔   คำ    และวรรคที่   ๓  มี   ๖ คำ                                       รวมบทหนึ่งมี   ๑๖   คำ   จึงเรียกว่ากาพย์ฉบัง   ๑๖                                                               
                           ๒ .  สัมผัสดังนี้คำสุดท้ายของวรรคแรก   สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่      ถ้าจะแต่งบทต่อไปต้องใช้คำสุดท้ายของบทต้น    สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคแรกของบทต่อไป   ซึ่งถือเป็นสัมผัสระหว่างบท
                      .  คำสุดท้ายของบทห้ามใช้คำตายหรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์และนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์สามัญหรือจัตวา
            .   กาพย์ฉบัง   นิยมแต่งเกี่ยวกับตอนที่เป็นบทพรรณนาโวหารและนิยมแต่งเป็นบทสวดและบทพากย์โขน


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ลักษณะคำประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยา

คำอธิบาย  รูปแบบฉันทลักษณ์

 คณะ
                    กาพย์สุรางคนางค์ ๑ บท แบ่งออกเป็น ๗ วรรค

  พยางค์ 
                    พยางค์หรือคำ แต่ละวรรคมี ๔ คำ รวมทั้งหมด ๗ วรรค มี ๒๘ คำ 
          จึงเรียกว่ากาพย์สุรางคนางค์ ๒๘

  สัมผัส
               ๑. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒
               ๒. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๕
               ๓. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคำที่ ๒ ของวรรคที่ ๕
               ๔. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๕ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๖
                    ถ้าแต่งมากกว่า ๑ บท ต้องมีสัมผัสเชื่อมระหว่างบท คือ คำสุดท้ายของบทแรก
          สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ของบทต่อไป

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ลักษณะคำประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยา

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กาพย์ยานี 11 กาพย์พระไชยสุริยา

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กาพย์ฉบัง 16 กาพย์พระไชยสุริยา
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กาพย์ยานี 11 กาพย์พระไชยสุริยา

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กาพย์สุรางคนางค์ 28 กาพย์พระไชยสุริยา

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น